วิธีหาสัจนิรันดร์ สมมติให้ประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบเป็นF ถ้ามีประพจน์ใดประพจน์หนึ่งขัดแย้งจากที่สมมติไว้ แสดงว่าประพจน์ที่ต้องการตรวจสอบนั้นไม่มีโอกาสเป็นเท็จ แสดงว่าประพจน์นั้นเป็นสัจนิรันดร์ ตัวเลือกที่ 1จากโจทย์ p⇒q⇒q⇒p สมมติให้ประะพจน์มีค่าความจริงเป็นเท็จ T→F≡Fฝั่งซ้ายให้ p⇒q≡T→* และฝั่งขวาให้ q⇒p≡F ดังนั้น q≡T และ p≡F แทนใน *จาก * p⇒q≡Tจะได้ F⇒T≡T T≡T ไม่ขัดแย้ง นั่นคือประพจน์มีโอกาสเป็นเท็จตามที่สมมติไว้ดังนั้น p⇒q⇒q⇒p ไม่เป็นสัจนิรันดร์ ตัวเลือกที่ 2จากโจทย์ ~p∨~q⇒p⇒q สมมติให้ประะพจน์มีค่าความจริงเป็นเท็จ T→F≡Fฝั่งซ้ายให้ ~p∨~q≡T→* และฝั่งขวาให้ p⇒q≡F ดังนั้น p≡T และ q≡F แทนใน *จาก * ~p∨~q≡Tจะได้ ~T∨~F≡T F∨T≡T T≡T ไม่ขัดแย้ง นั่นคือประพจน์มีโอกาสเป็นเท็จตามที่สมมติไว้ดังนั้น ~p∨~q⇒p⇒q ไม่เป็นสัจนิรันดร์ ตัวเลือกที่ 3จากโจทย์ p∧~q ⇒~p⇒ p⇒q สมมติให้ประะพจน์มีค่าความจริงเป็นเท็จ T→F≡Fฝั่งซ้ายให้ p∧~q ⇒~p≡T→* และฝั่งขวาให้ p⇒q≡F ดังนั้น p≡T และ q≡F แทนใน * จาก * p∧~q ⇒~p≡Tจะได้ T∧~F⇒~T≡T T∧T⇒F≡T T⇒F≡T F≢T ขัดแย้ง นั่นคือประพจน์ไม่มีโอกาสเป็นเท็จตามที่สมมติไว้ดังนั้น p∧~q ⇒~p⇒ p⇒q เป็นสัจนิรันดร์ ตัวเลือกที่ 4จากโจทย์ p∧q ⇒~q ⇒p⇒qสมมติให้ประะพจน์มีค่าความจริงเป็นเท็จ T→F≡Fฝั่งซ้ายให้ p∧q ⇒~q ≡T→* และฝั่งขวาให้ p⇒q≡F ดังนั้น p≡T และ q≡F แทนใน * จาก * p∧q ⇒~q ≡Tจะได้ T∧F⇒~F≡T F⇒T≡T T≡T ไม่ขัดแย้ง นั่นคือประพจน์มีโอกาสเป็นเท็จตามที่สมมติไว้ดังนั้น p∧q ⇒~q ⇒p⇒q ไม่เป็นสัจนิรันดร์